งานด้านปรัชญา ของ จอร์จ โซรอส

โซรอสมีความสนใจเกี่ยวเรื่องปรัชญาอย่างชัดเจน และเขาได้กล่าวว่าการเข้ามาในโลกของการเงินของเขานั้นเพื่อสนับสนุนตัวเองในฐานนักปรัชญาคนหนึ่ง ปรัญชาของเขาได้รับอิทธิพลจาก Karl Popper ผุ้ที่เขาได้เรียนด้วยเมื่อครั้งเรียนอยู่ที่ London School of Economic สถาบัน Open Society Institute ของเขาได้ชื่อมาจากหนังสือ ของ Karl Popper “the open society and it’s enemy” โซรอสได้ตั้งปณิทานเกี่ยวกับหลักการ Fallibilism สาขาหนึ่งจากปรัญชาของ Popper ในบทสัมภาษณ์กับ Minutesโซรอสเคยพูดไว้ว่าเขาไม่เชื่อในพระเจ้า

งานเขียนของโซรอสเน้นไปที่หลักการ Reflexivity ในการความอคติของบุคคลมีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงในตลาด และสามารถเปลี่ยนแปลงมุมมองพื้นฐานของเศรษฐกิจ โซรอสบอกว่าการเปลี่ยนแปลงในมุมมองของพื้นฐานเศรษฐกิจส่วนมากส่งผลจาก ความไม่สมดุล มากกว่าความสมดุลของตลาด และ แนวคิดในอดีตของทฤษฏีเศรษฐกิจของตลาดไม่เกี่ยวสามารถนำมาใช้ในทฤษฏีนี้ โซรอสทำให้ การเคลื่อนไหวอย่างไม่สมดุลของตลาด และ การหยุดนิ่งของความสมดุลในตลาด และ สถานภาพกึ่งสมดุลของตลาด กลายเป็นหัวข้อที่ผู้คนสนใจ

ทฤษฎีการสะท้อน (Reflexivity) มีพื้นฐานมาจากสามหลักการนั่นคือ หนึ่ง ทฤษฎีการสะท้อนสามารถพบเห็นได้จากต่อเมื่อสถานภาพพิเศษเมื่อนักนักลงทุนทั้งหลายมีอคติและแพร่หลายในพื้นที่ของการลงทุน ยกตัวอย่างเช่น ปัจจัยที่จะทำให้นักลงทุนมีความอคติเพิ่มขึ้นได้แก่ หนึ่งคือ การเพิ่มทุน สอง การตามกระแสนิยมของนักวิเคราะห์หุ้นทั้งหลาย ทฤษฎีการสะท้อน จะปรากฏก็ต่อเมื่อ สถานภาพทั้งหลายปรากฏอย่างชัดเจน ตัวอย่างเช่น ลักษณะขั้นตอนความสมดุล ถูกนำมาใช้อย่างเหมาะสมที่สุดในความน่าจะเป็น

ในมุมมองของนักลงทุนและผู้เกี่ยวข้องในตลาดการเงิน อาจจะมีผลกระทบต่อการประเมินค่าในตลาดเป็นครั้งคราวและสถานภาพพื้นฐานหรือผลลัพธ์

ตัวอย่างในปัจจุบันของ ทฤษฎีการสะท้อนในตลาดการเงินสมัยใหม่ คือ หนี้และทุนของตลาดอสังหาริมทรัพย์ปี 1990 ผู้ให้กู้สามารถเพิ่มเงินกู้ให้แก่ผู้กู้ได้ทำไปซื้อบ้าน ทำให้คนได้สมามารถซื้อบ้านด้วยจำนวนเงินที่มากขึ้น ทำให้มูลค่าของบ้านเหล่านี้มากขึ้น ผู้ให้กู้จะดู บัญชีที่นอกจากจะแสดงให้เห็นว่าผู้กู้ได้กู้มากขึ้นแล้วยังแสดงให้เห็นเงินค้ำประกันของผู้กู้คือมูลค่าของบ้านนั้นๆมีมุลค่ามากขึ้น (เพราะว่ามีความต้องการของบ้านหลังนั้นเป็นจำนวนเงินที่มากขึ้น) พวกนักลงทุนให้กู้จึงให้กู้มากขึ้น เพราะ บัญชีของเขาดูดีและมูลค่าของบ้านก็เพิ่มขึ้นอีกด้วย ทำให้นักลงทุนเหล่านั้นให้กู้เพิ่ม นโยบายสาธารณะได้นำไปขยายผลลัพทืในภายหลัง รัฐบาลหลายแห่งเห็นว่าการครอบครองบ้านเป็นในผลลัพธ์เชิงบวกและผู้ครอบครองบ้านคนแรก และผู้สนับสนุนเงินรองลงมา หรือปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อ การซื้อขายบ้านยกตัวอย่างเช่น การลดหย่อนภาษีในการซื้อขายบ้าน หมายความว่าบ้านที่ซื้อนั้นถูกมองว่าเป็นของมีค่า ราคาของบ้านเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและกฎข้อบังคับของการกู้ยืมลดน้อยลง สิ่งที่สำคัญที่สุดคือการยึดทฤษฎีการสะท้อน เพื่อนำมาอธิบายว่าเหตใดตลาดถึงได้มีการเคลื่อนไหวอย่างรวดเร็ว และไม่ยึดติดกับความสมดุลของตลาด ส่วนมากแล้วถ้าไม่มากเกินก็น้อยกว่าความสมดุลของตลาด

นอกจากบทบาทของนักลงทุนและนักวิเคราะห์ค่าเงิน เค้ากล่าวว่าระบบการวิเคราะห์การเงินส่งผลลบต่อการเติบโตของสภาพเศรษฐกิจที่ดี ในประเทศโลกที่สาม โซรอสกล่าวโทษว่าในความคิดเห็นของเขา หลายปัญหาในโลกเกิดจากความล้มแหลวของพื้นฐานตลาด เขาโต้แย้งว่าปัจจัยหลายๆอย่างของการที่โลกเชื่อมต่อกันทำให้เขาเป็นตัวแทนของการกระตุ้นให้เกิดข้อขัดแย้ง Victor Niederhoffer บอกว่าโซรอสเชื่อว่า แม้ในเศรษฐกิจแบบผสม ผู้ที่มีรัฐบาลกลางที่แข็งแกร่งผู้คอยแก้ไขความต้องการส่วนบุคคลที่เกินความจำเป็น” โซรอสบอกว่าจะต้องมีการแยกข้อแตกต่างระหว่างการที่เป็นผู้มีส่วนร่วมในตลาดและ ผู้มีส่วนร่วมในการทำงานเพื่อจะเปลี่ยนแปลงกฎเกณที่ผู้มีส่วนร่วมในตลาดต้องปฏิบัติตาม อ้างอิงจาก Mahathri Bin Mohamed นายกเทศมนตรีของประเทศมาเลเซียตั้งแต่ กรกฎาคม 1987 ถึง ตุลาคม 2003 โซรอสในฐานะที่เป็นหัวหน้ากองทุน Quantum อาจจะมีบทบาทที่ทำให้เศรษฐกิจในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ตกต่ำ เมื่อค่าเงินบาทของประเทศไทยลอยตัวเมื่อจำกัดค่าเงินบาทต่อดอลล่าของสหรัฐ Mahathri บอกว่าสามปีก่อนการล้มของเศรษฐกิจ โซรอสได้ลงทุนในการถือหุ้นและสังหาริมาทรัพระยะสั้นในประเทศเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นการครอบครองโดยการกระทำที่ไม่เหมาะสม ทำให้เกิดการอ่อนตัวของค่าเงิน โซรอสโต้ว่า Mahatri ใช้ตัวของโซรอสเป็นแพะรับบาปของความผิดพลาดของตัว Mahatri เอง” และ Mahatri ได้กล่าวจะแบนการแลกเปลี่ยนค่าเงิน

แหล่งที่มา

WikiPedia: จอร์จ โซรอส http://www.campaignmoney.com/biography/george_soro... http://www.forbes.com/finance/lists/54/2004/LIR.jh... http://fundville.com/fund/2516/SOROS-FUND-MANAGEME... http://georgesoros.com/ http://www.investors.com/NewsAndAnalysis/Article.a... http://www.livermorereport.com/blogs/georgesoros/ http://www.newyorker.com/archive/2004/10/18/041018... http://www.nybooks.com/authors/157 http://www.aworldtowin.net/reviews/SorosParadigm.h... http://web.archive.org/20000516195654/campus.fortu...